กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หน้าหลัก
เกี่ยวกับเรา
อำนาจหน้าที่
โครงสร้าสำนัก
ผู้บริหารสำนักนโยบายฯ
บุคลากร
หน่วยงานในสังกัด
ฝ่ายบริหารทั่วไป
ส่วนนโยบายภัยจากธรรมชาติ
ส่วนนโยบายภัยจากมนุษย์และความมั่นคง
ส่วนนโยบายและยุทธศาสตร์
ส่วนงบประมาณและแผนปฏิบัติงาน
ส่วนติดตามและประเมินผล
ส่วนการป้องกันอุบัติภัย
ข้อมูล COVID-19
ข้อสั่งการ ปภ./กอปภ.ก./บกปภ.ช.
ข้งสั่งการกระทรวงมหาดไทย
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
หนังสือราชการ/หนังสือสั่งการ
สาระน่ารู้
ดาวน์โหลด
ติดต่อเรา
ที่อยู่และแผนที่
เบอร์โทรศัพท์/โทรสาร
นายสหรัฐ วงศ์สกุลวิวัฒน์
ผู้อำนวยการกองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ส่วนนโยบายและยุทธศาสตร์
2565
กลุ่ม
2565
2564
2563
29/4/2565
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2565 - 2570 สู่ทศวรรษที่ 3”
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2565 - 2570 สู่ทศวรรษที่ 3” ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2565 ณ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และโรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง กรุงเทพมหานคร เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2565 - 2570 ตลอดจนการกำหนดจุดยืน (Positioning) ที่มุ่งเป้าทางยุทธศาสตร์การวางแผนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2565-2570 ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
29/4/2565
แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2565 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
นส. ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ ปภ. สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยรายปี 2565 ประกอบด้วย ๕ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๒ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๓ ทิศทางของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๔ แผนงาน/โครงการของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และส่วนที่ ๕ การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการรายปีของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
9/5/2565
แผนบริหารความเสี่ยงกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2565
ปภ. ได้จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการต่าง ๆ เพื่อลดโอกาสที่จะส่งผลให้หน่วยงานเกิดความเสียหายและส่งผลกระทบในอนาคตให้อยู่ในระดับที่หน่วยงานยอมรับ ประเมิน ควบคุม และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมาย ทั้งในด้านกลยุทธ์ กฎระเบียบ งบประมาณ รวมทั้งภาพลักษณ์ของหน่วยงาน