กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
นายสหรัฐ วงศ์สกุลวิวัฒน์
ผู้อำนวยการกองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ดาวน์โหลด
ส่วนติดตามและประเมินผล
ส่วนงบประมาณและแผนปฏิบัติงาน
หัวข้อ แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
หัวข้อ การเตรียมการชี้แจงในการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วาระที่ 1 ของสภาผู้แทนราษฎร
หัวข้อ คู่มือการจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติเพศภาวะ ฉบับสมบูรณ์
หัวข้อ สรุปผลการประชุมก้าวสู่การจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติเพศภาวะ : การเปิดตัวคู่มือการจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติเพศภาวะ และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการขับเคลื่อนการจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติเพศภาวะ
หัวข้อ แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ระดับหน่วยงาน และแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ กระทรวงมหาดไทย
หัวข้อ การจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ส่วนนโยบายและยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2565 - 2570 สู่ทศวรรษที่ 3” ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2565 ณ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และโรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง กรุงเทพมหานคร เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2565 - 2570 ตลอดจนการกำหนดจุดยืน (Positioning) ที่มุ่งเป้าทางยุทธศาสตร์การวางแผนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2565-2570 ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
นส. ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ ปภ. สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยรายปี 2565 ประกอบด้วย ๕ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๒ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๓ ทิศทางของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ ๔ แผนงาน/โครงการของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และส่วนที่ ๕ การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการรายปีของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ปภ. ได้จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการต่าง ๆ เพื่อลดโอกาสที่จะส่งผลให้หน่วยงานเกิดความเสียหายและส่งผลกระทบในอนาคตให้อยู่ในระดับที่หน่วยงานยอมรับ ประเมิน ควบคุม และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมาย ทั้งในด้านกลยุทธ์ กฎระเบียบ งบประมาณ รวมทั้งภาพลักษณ์ของหน่วยงาน
จำนวนผู้เข้าชมในหน้านี้ 126891 ครั้ง